096-356-9461 support@rlg-ef.com
การทำข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU)

การทำข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU)

 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562  สภาคณบดีคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ สำนักงานกองทุนสนับสนุนและส่งเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบันอาร์แอลจี (รักลูก เลิร์นนิ่ง กรุ๊ป) ได้ลงนามในข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU)  โดยมีข้อตกลงสำคัญดังนี้ 1....
นักวิทยาศาสตร์กับการศึกษา

นักวิทยาศาสตร์กับการศึกษา

ในมุมมองของนักประสาทวิทยา รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ได้แสดงความคาดหวังอยากเห็นการศึกษาในบ้านเราพัฒนาก้าวไกลทัดเทียมประเทศที่ก้าวหน้าทั้งหลาย โดยได้หยิบยกประสบการณ์ของต่างประเทศ ที่หน่วยงานทางด้านวิทยาศาสตร์ ไม่ว่าหน่วยงานวิทยาศาสตร์โดยตรง หรือ...
แม้พันธุกรรมไม่ดี แต่ EF สร้างภูมิคุ้มกันได้

แม้พันธุกรรมไม่ดี แต่ EF สร้างภูมิคุ้มกันได้

ปัจจัยที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาสมอง คือพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยา ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ (Center of Neuroscience) สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวต่อไปว่า...
แม้พันธุกรรมไม่ดี แต่ EF สร้างภูมิคุ้มกันได้

พัฒนาการทั่วไปและทักษะสมอง EF มีความสัมพันธ์กันอย่างไร

รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยา ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ (Center of Neuroscience) สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า โดยธรรมชาติเด็กจะมีพัฒนาการทั่วไปตามขั้นตอนและสัมพันธ์กับพัฒนาการด้าน EF (การคิด...
แม้พันธุกรรมไม่ดี แต่ EF สร้างภูมิคุ้มกันได้

Network สมองที่มีความสำคัญต่อการพัฒนา EF และการเรียนรู้

รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยา ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ (Center of Neuroscience) สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการทำงานของสมองส่วนหน้าซึ่งทำงานเหมือน CEO ของสมอง...