096-356-9461 support@rlg-ef.com
มหาวิทยาลัยราชภัฏ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อขับเคลื่อนขยายผล

มหาวิทยาลัยราชภัฏ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อขับเคลื่อนขยายผล

แล้วจะทำอย่างไรให้ครูรุ่นใหม่ทุกคนทั่วประเทศเรียนรู้เข้าใจเรื่องทักษะสมอง EF  ซึ่งเป็นความรู้ทางวิชาการที่มีความซับซ้อนพอสมควร ด้วยแนวคิด EF Ecosystem ที่ว่าด้วยหลักการขับเคลื่อนองค์ความรู้เรื่องทักษะสมอง EF ข้อหนึ่งคือต้องสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อขับเคลื่อนขยายผล...
โลกเปลี่ยน ความรู้เปลี่ยน ครูต้องเปลี่ยน

โลกเปลี่ยน ความรู้เปลี่ยน ครูต้องเปลี่ยน

โลกในศตวรรษที่ 21 มีการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผวน (Disruptive World) เป้าหมายและกระบวนการในการสร้างคนรุ่นใหม่ที่จะสามารถดำรงชีวิตให้อยู่รอด มีสุขภาวะที่ดีในทุกมิติ ทั้งร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญา รวมทั้งมีความสามารถสร้างสรรค์ เพื่อเป็นทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพ...
EF สำคัญต่อการเรียนและการประสบความสำเร็จในชีวิต

EF สำคัญต่อการเรียนและการประสบความสำเร็จในชีวิต

“ทักษะสมองEF สำคัญต่อ future competency หรือทักษะในศตวรรษที่ 21” รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยา ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ (Center of Neuroscience) สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล อธิบายว่า...
พัฒนาการทักษะ EF ของเด็กปฐมวัย

พัฒนาการทักษะ EF ของเด็กปฐมวัย

EF มีหลายทฤษฎี แต่ที่ได้รับการยอมรับจาก Neuroscience คือทักษะพื้นฐาน 3 ด้าน คือ Working Memory = ความจำใช้งาน Inhibitory Control = การหยุด และ Shift Cognitive Flexibility = การคิดยืดหยุ่น การปรับเปลี่ยน เป็นพื้นฐานที่สำคัญและพัฒนาตามลำดับ...
กลไกสมองกับการพัฒนา Self

กลไกสมองกับการพัฒนา Self

เรื่อง Self หรือตัวตน เป็นเรื่องที่เรารู้จักกันดีแต่อธิบายในแง่ของการศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์ได้ค่อนข้างยาก เพราะเป็นเรื่องนามธรรมค่อนข้างมาก การศึกษาเรื่องสมองกับการรับรู้ Self ก็มีคนศึกษาไม่มากจนมีเครื่องมือและกระบวนการในการตรวจสอบสมองมากขึ้น...