096-356-9461 support@rlg-ef.com
EF สำคัญต่อการเรียนและการประสบความสำเร็จในชีวิต

EF สำคัญต่อการเรียนและการประสบความสำเร็จในชีวิต

“ทักษะสมองEF สำคัญต่อ future competency หรือทักษะในศตวรรษที่ 21” รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยา ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ (Center of Neuroscience) สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล อธิบายว่า...
พัฒนาการทักษะ EF ของเด็กปฐมวัย

พัฒนาการทักษะ EF ของเด็กปฐมวัย

EF มีหลายทฤษฎี แต่ที่ได้รับการยอมรับจาก Neuroscience คือทักษะพื้นฐาน 3 ด้าน คือ Working Memory = ความจำใช้งาน Inhibitory Control = การหยุด และ Shift Cognitive Flexibility = การคิดยืดหยุ่น การปรับเปลี่ยน เป็นพื้นฐานที่สำคัญและพัฒนาตามลำดับ...
กลไกสมองกับการพัฒนา Self

กลไกสมองกับการพัฒนา Self

เรื่อง Self หรือตัวตน เป็นเรื่องที่เรารู้จักกันดีแต่อธิบายในแง่ของการศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์ได้ค่อนข้างยาก เพราะเป็นเรื่องนามธรรมค่อนข้างมาก การศึกษาเรื่องสมองกับการรับรู้ Self ก็มีคนศึกษาไม่มากจนมีเครื่องมือและกระบวนการในการตรวจสอบสมองมากขึ้น...
นักวิทยาศาสตร์กับการศึกษา

นักวิทยาศาสตร์กับการศึกษา

ในมุมมองของนักประสาทวิทยา รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ได้แสดงความคาดหวังอยากเห็นการศึกษาในบ้านเราพัฒนาก้าวไกลทัดเทียมประเทศที่ก้าวหน้าทั้งหลาย โดยได้หยิบยกประสบการณ์ของต่างประเทศ ที่หน่วยงานทางด้านวิทยาศาสตร์ ไม่ว่าหน่วยงานวิทยาศาสตร์โดยตรง หรือ...
กลไกสมองกับการพัฒนา Self

แม้พันธุกรรมไม่ดี แต่ EF สร้างภูมิคุ้มกันได้

ปัจจัยที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาสมอง คือพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยา ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ (Center of Neuroscience) สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวต่อไปว่า...
กลไกสมองกับการพัฒนา Self

พัฒนาการทั่วไปและทักษะสมอง EF มีความสัมพันธ์กันอย่างไร

รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยา ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ (Center of Neuroscience) สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า โดยธรรมชาติเด็กจะมีพัฒนาการทั่วไปตามขั้นตอนและสัมพันธ์กับพัฒนาการด้าน EF (การคิด...